Loading...

ข้อมูลบุคลากร

คณะบริหารศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี


ผศ.สืบพงศ์ หงษ์ภักดี

-

 
 
ชื่อ - สกุล ผศ.สืบพงศ์ หงษ์ภักดี  
  Asst. Prof.Surbpong Hongpakde  
   

อีเมล surbpong.h@ubu.ac.th  
ตำแหน่ง ผู้ช่วยศาสตราจารย์  
สาขาวิชา / แผนก นวัตกรรมการจัดการโรงแรมและการบริการ  
โทรศัพท์ 0-4535-3827  
โทรสาร 0-4535-3805  
สถานที่ติดต่อ ห้องพักอาจารย์ BUS 269  
     
คุณวุฒิ
    คุณวุฒิการศึกษา
  • ระดับปริญญาโท (หลักสูตรศิลปศาสตรมหาบัณฑิต) สาขาวิชาการจัดการอุตสาหกรรมการท่องเที่ยว มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

งานบริหาร
    ตำแหน่ง
  • รองคณบดีฝ่ายบริหาร(2560-2563)
  • รองผู้อำนวยการสำนักทรัพย์สินและสิทธิประโยชน์(2563-2566)
  • ประธานคณะกรรมการบริหารสถานปฏิบัติการการท่องเที่ยวและการโรงแรม (โรงแรมยูเพลส)

งานสอน / ภาระงาน
    ผู้รับผิดชอบรายวิชา
  • จรรยาบรรณวิชาชีพและกฎหมายสำหรับการโรงแรม
  • การจัดการอาหารและเครื่องดื่มสำหรับภัตตาคาร
  • การจัดการสโมสรและบาร์
  • การจัดการเชิงกลยุทธ์สำหรับการโรงแรม
  • การตลาดโรงแรมและการขาย
  • การดำเนินงานและการจัดการงานส่วนหน้า
  • การเป็นผู้ประกอบการอาหารและเครื่องดื่ม

ความเชี่ยวชาญ
    ความสามารถพิเศษ / ความเชี่ยวชาญ
  • ทยากรการบริการ / การท่องเที่ยวชุมชน/ การตลาดบริการ / การทำงานเป็นทีม/การเป็นผู้ประกอบการ


  • รางวัลผลงานวิจัยที่ได้รับ ผลงานวิจัยดีเด่น มอบ วิจัยครั้งที่ 4 โดย มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี

งานวิจัยอื่นๆ
    หัวหน้าโครงการ
  • 1. โครงการพัฒนาทักษะเพื่อธุรกิจการท่องเที่ยวและการโรงแรม มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี (หัวหน้าโครงการฯ)
  • 2. ศึกษาความพึงพอใจในการใช้บริการห้องพักของโรงแรมในจังหวัดอุบลราชธานี (หัวหน้าโครงการฯ)
  • 3. ศึกษาความเป็นไปได้ด้านการจัดการที่พักแบบชุมชนมีส่วนร่วม ชุมชนรอบมหาวิทยาลัยอุบลราชธานี
  • 4. โครงการศึกษาและจัดทำฐานข้อมูลกลุ่ม/องค์กร/พื้นที่ ที่ใช้หลักเศรษฐกิจพอเพียงในการดำเนินชีวิต NRPM 2555A11762021 (ผู้ร่วมโครงการฯ)
  • 5. การประเมินความต้องการจำเป็นของผู้มาเยือนจังหวัดมุกดาหาร ร้อยเอ็ด บุรีรัมย์ ยโสธร สุรินทร์ ศรีสะเกษ อำนาจเจริญและจังหวัด อุบลราชธานี เพื่อการวางแผนพัฒนาคุณภาพการบริการของโรงแรม NRPM 2551A11702057 (ผู้ร่วมโครงการฯ)
  • 6. การมีส่วนร่วมของชุมชนในการจัดการสิ่งแวดล้อมของแหล่งท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนริมแม่น้ำมูลและแม่น้ำสาขาในจังวัดอุบลราชธานี : ศึกษากรณี หาดพัทยาน้อย อำเภอสิรินธร จังหวัดอุบลราชธานี(หัวหน้าโครงการฯ)
  • 1. การพัฒนาแหล่งท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนโดยการมีส่วนร่วมของกลุ่มวิสาหกิจชุมชน NRPM 2553A11702062 (หัวหน้าโครงการฯ)
  • 8. เส้นทางการท่องเที่ยวมรดกทางวัฒนธรรม โดยชุมชนมีส่วนร่วม พื้นที่จังหวัดอุบลราชธานี NRPM 2554A11702047(หัวหน้าโครงการฯ)
  • 9. การการสำรวจย่านชุมชนดั้งเดิมที่มีคุณค่าเชิงวัฒนธรรมในเขตจังหวัดอุบลราชธานีเพื่อสร้างทางเลือกทางการท่องเที่ยว(สกอ.งบปี 2554)(หัวหน้าโครงการฯ)
  • 10. การศึกษาเอกลักษณ์และคุณค่าของเมืองเพื่อการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม กรณีศึกษา เมืองประวัติศาสตร์“เขมราษฎร์ธานี” อำเภอเขมราฐ จังหวัดอุบลราชธานี NRPM 2557A11702150(หัวหน้าโครงการฯ)
  • 11. การสื่อความหมายในการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมโดยชุมชน:150 ปี“บ้านกว้างลำชะโด”สู่ “พิมูลมังษาหาร” NRPM 2558A11702184(หัวหน้าโครงการฯ)
  • โครงการวิจัย เรื่อง วัฒนธรรมและวิถีชีวิตชุมชนในพื้นที่ชุ่มน้ำ “กุดศรีมังคละ”: กระบวนการสื่อความหมายโดยชุมชนมีส่วนร่วม โดยแหล่งทุนวิจัย Clusters of Excellence 1-9 สำหรับกลุ่มมหาวิทยาลัย 20 แห่ง สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย [สกว.] ปีงบประมาณ2561 (หัวหน้าโครงการฯ)
    ผู้ร่วมวิจัย
  • โครงการวิจัย เรื่อง การยกระดับทุนทางวัฒนธรรมด้านภูมิปัญญาการทำเทียนจังหวัดอุบลราชธานีเพื่อสร้างมูลค่าเพิ่มและสร้างมูลค่าใหม่บนฐานเศรษฐกิจสร้างสรรค์ในพื้นที่ย่านเมืองเก่า โดยแหล่งทุนวิจัย หน่วยบริหารและจัดการทุนด้านการพัฒนาระดับพื้นที่ (บพท.) ปีงบประมาณ 2565 (ผู้ร่วมวิจัยฯ)
  • การยกระดับเศรษฐกิจชุมชนและสำนึกรัก (ษ์) ท้องถิ่นย่านเมืองเก่าอุบลราชธานีบนฐานอัตลักษณ์พหุวัฒนธรรม (บพท.)ปีงบประมาณ 2567(ผู้ร่วมวิจัยฯ)

ผลงานทางวิชาการอื่นๆ
    บทความ/ผลงานวิจัยในวารสารวิชาการภายในประเทศ
  • 1. บทความวิจัยเรื่อง ศึกษาความเป็นไปได้ด้านการจัดการที่พักแบบชุมชนมีส่วนร่วม วารสารการบริการและการท่องเที่ยวไทย สมาคมนักวิชาการการท่องเที่ยว(ประเทศไทย) ปีที่2 ฉบับที่ 2 (2550)
  • 2. บทความวิจัยเรื่องการมีส่วนร่วมของชุมชนในการจัดการสิ่งแวดล้อมของแหล่งท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนริมแม่น้ำมูลและแม่น้ำสาขาในจังวัดอุบลราชธานี : ศึกษากรณี หาดพัทยาน้อย อำเภอสิรินธร จังหวัดอุบลราชธานี วารสารการบริการและการท่องเที่ยวไทย สมาคมนักวิชาการการท่องเที่ยว(ประเทศไทย) ปีที่6 ฉบับที่ 1 (2554)
  • 3.บทความวิจัยเรื่อง “การสำรวจย่านชุมชนดั้งเดิมที่มีคุณค่าเชิงวัฒนธรรมในเขตจังหวัดอุบลราชธานีเพื่อสร้างทางเลือกทางการท่องเที่ยว” วารสารกระแสวัฒนธรรม ปีที่14 ฉบับที่ 25 (2556)
  • 4.บทความทางวิชาการ เรื่องการเติบโตล่าสุดของหลัดสูตรอุตสาหกรรมบริการ (การท่องเที่ยว-โรงแรม) วารสารการบริการและการท่องเที่ยวไทย สมาคมนักวิชาการการท่องเที่ยว (ประเทศไทย) ปีที่6 ฉบับที่ 1 (2554)
  • 5.บทความวิจัยเรื่อง การศึกษาคุณค่าและเอกลักษณ์ของเมืองเพื่อการท่องเที่ยว (2562). เชิงวัฒนธรรมกรณีศึกษา เมืองประวัติศาสตร์ "เขมราษฎร์ธานี" อำเภอเขมราฐ จังหวัดอุบลราชธานี. การประชุมวิชาการระดับชาติ "การท่องเที่ยวและการโรงแรมร่วมสมัย" ครั้งที่ 6 คณะการท่องเที่ยวและการโรงแรม มหาวิทยาลัยมหาสารคาม, 6 มิถุนายน 2562. (98-109 น.)
  • 6.บทความวิจัยเรื่อง การศึกษาความเป็นไปได้ของรูปแบบและวิธีการจำนำปลาร้า โดยชุมชนมีส่วนร่วม :กรณีศึกษา กลุ่มวิสาหกิจชุมชนปลาร้าแม่น้ำโขง อำเภอชานุมาน จังหวัดอำนาจเจริญ(2560).. วารสาร BU Academic Review มหาวิทยาลัยกรุงเทพ. 16(1), มกราคม-มิถุนายน 2560.(1-17 น.)
  • 7.บทความวิจัยเรื่อง. ต้นทุนเทียนพรรษา ภูมิปัญญาท้องถิ่น ในงานประเพณีแห่เทียนพรรษา จังหวัดอุบลราชธานี(2559). วารสารบริหาร มหาวิทยาลัยกรุงเทพ (Executive Journal), 36(2),กรกฎาคม-ธันวาคม 2559.(62-78 น.)
  • 8. บทความวิจัยเรื่อง “ปัจจัยที่มีผลต่อความผูกพันองค์กรของพนักงานระดับปฎิบัติการในนิคมอุตสาหกรรมเครือสหพัฒน์ของประเทศไทย” วารสารบริหารศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี. ปีที่ 11 ฉบับที่ 1 (มกราคม-มิถุนายน 2565)
  • 9. บทความวิจัยเรื่อง “ผลกระทบของการรับรู้ข้อมูลข่าวสาร ความรู้ทางการเงินและภาวะเศรษฐกิจ ที่มีผลต่อพฤติกรรมการวางแผนทางการเงินส่วนบุคคล กลุ่มวัยทำงานในจังหวัดชลบุรี” วารสารบัญชีและการจัดการ คณะการบัญชีและการจัดการ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม. ฐานข้อมูล TCI กลุ่ม 1 ปีที่ 14 ฉบับที่ 1 เดือนมกราคม -มีนาคม พ.ศ. 2565
  • 10.บทความวิชาการ เรื่อง “รู้เพื่อรอดทางออกสำหรับธุรกิจโรงแรม” Journal of Roi Kaensarn Acadami. ปีที่ 6 ฉบับที่ 6 ประจำเดือนมิถุนายน พ.ศ. 2564

งานบริการวิชาการ
    กรรมการจัดงานฝึกอบรมและบริการวิชาการ
  • ผลงานวิจัยที่นำไปใช้ประโยชน์ (ต่อสาธารณะ, ชุมชน, กลุ่มเกษตรกร ฯลฯ) 1. ผู้มีส่วนร่วมเสนออาคารโรงเรียนเบญจะมะมหาราชหลังที่2 อำเภอเมือง จังหวัดอุบลราชธานีได้รับรางวัลอนุรักษ์สถาปัตยกรรมดีเด่นประเภทอาคารสถาบันและอาคารสาธารณะสมาคมสถาปนิกสยาม ประจำปี 2554 ได้รับพระราชทานรางวัลสมเด็จพระเทพฯ
  • ผลงานวิจัยที่นำไปใช้ประโยชน์ (ต่อสาธารณะ, ชุมชน, กลุ่มเกษตรกร ฯลฯ) 2. ผู้เมีส่วนร่วมสนอศาลาธรรมาสน์สิงห์ วัดศรีนวลแสงสว่างอารมณ์ ตำบลชีทวน อำเภอเขื่องใน จังหวัดอุบลราชธานี ได้รับรางวัลอนุรักษ์สถาปัตยกรรมดีเด่นประเภทอาคารศาสนสถานสมาคมสถาปนิกสยาม ประจำปี 2555 ได้รับพระราชทานรางวัลสมเด็จพระเทพฯ

บำรุงศิลปวัฒนธรรม