Loading...
En
คณะของเรา
เกี่ยวกับเรา
ประวัติการก่อตั้ง
วิสัยทัศน์ พันธกิจ และค่านิยม
วิดีทัศน์แนะนำคณะ
แผนที่ตั้ง
บุคลากร
จำนวนนักศึกษา
การบริหาร
โครงสร้างการแบ่งส่วนราชการ
ผู้บริหาร
รายงานประจำปี
ประกาศ/มติที่ประชุมที่สำคัญ
ข่าวและกิจกรรม
ข่าวทั่วไป
ข่าวประกวดราคา
ข่าวทุนการศึกษา
ข่าวรับสมัครงาน
หน่วยงานภายใน
งานบริหารทั่วไป
งานบริการการศึกษา
งานคอมพิวเตอร์และเครือข่าย
งานบรรณารักษ์
งานโสตทัศนศึกษา
งานพัฒนานักศึกษา
งานประกันคุณภาพการศึกษาและสารสนเทศ
งานแผนและงบประมาณ
งานบริหารบุคคล
งานคลังและพัสดุ
งานส่งเสริมการวิจัย ฯ
การศึกษาและหลักสูตร
หลักสูตรปริญญาตรี
สาขาวิชาการบัญชี
สาขาวิชาการเงินและการลงทุน
สาขาวิชาการจัดการธุรกิจ
สาขาการตลาด
สาขาวิชานวัตกรรมการจัดการโรงแรมและการบริการ
สาขาวิชาการจัดการโลจิสติกส์และโซ่อุปทาน
สาขาวิชาการจัดการธุรกิจระหว่างประเทศ
(หลักสูตรภาษาอังกฤษ)
หลักสูตรปริญญาโท
หลักสูตร บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต(MBA)
หลักสูตร บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต
สาขาวิชาการจัดการโลจิสติกส์และโซ่อุปทาน
ฐานข้อมูลวิทยานิพนธ์ - ค้นคว้าอิสระ
การรับเข้า
สมัครเรียน
ปฏิทินการศึกษา
สิ่งสนับสนุนการเรียน
อาคารเรียน
ภูมิทัศน์
วิจัยและนวัตกรรม
วิจัย
ฐานข้อมูลงานวิจัย
ข่าวประชุมวิชาการ / สัมมนา
ข่าวทุนวิจัย
ข่าวอบรม
รวมแบบฟอร์มวิจัย
นวัตกรรม
การพัฒนางานเชิงคุณภาพ
การแลกเปลี่ยนเรียนรู้
KM Blog
บริการของเรา
นักศึกษา
ระบบบริการนักศึกษา
ปฏิทินการศึกษา
สวัสดิการนักศึกษา
ข่าวทุนการศึกษา
ผู้สนใจศึกษา
หลักสูตรปริญญาตรี
หลักสูตรปริญญาโท
ระบบรับเข้าและสมัครเรียน
ผู้ปกครอง
แผนที่เดินทาง
หลักสูตรปริญญาตรี
หลักสูตรปริญญาโท
สิ่งสนับสนุนการเรียน
สำหรับอาจารย์และบุคลากร
ผู้สนใจใช้สถานที่
โรงแรม U-Place
ติดต่อเรา
ติดต่อคณะฯ
โทรศัพท์ 045-353-804
โทรสาร 045-353-805
สายด่วนช่วยเหลือนักศึกษา
อุบัติเหตุ-ฉุกเฉิน : 085-3132491
งานพัฒนานักศึกษา : 045-353-845
สายด่วนคณบดี
หน้าห้อง : 0-4535-3846
หรือ อีเมล santi.c@ubu.ac.th
หน่วยงานภายใน
สอบถามการลงทะเบียนเรียน
สอบถามการรับเข้าศึกษา
สอบถามรายละเอียดหลักสูตร
สอบถามข้อมูลอื่นๆ
ข้อมูลบุคลากร
คณะบริหารศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี
ผศ.ดร.อุทัย อันพิมพ์
คณบดี
ชื่อ - สกุล
ผศ.ดร.อุทัย อันพิมพ์
Asst.Prof.Dr.Uthai Unphim
คณบดี
อีเมล
uthai.u@ubu.ac.th
ตำแหน่ง
ผู้ช่วยศาสตราจารย์
สาขาวิชา / แผนก
การจัดการธุรกิจ
โทรศัพท์
0-4535-3816
โทรสาร
0-4535-3805
สถานที่ติดต่อ
ห้องพักอาจารย์ BUS 259 Facebook: uthai unphim
คุณวุฒิ
คุณวุฒิการศึกษา
2538 วิทยาศาสตรบัณฑิต (เทคโนโลยีการเกษตร) สถาบันราชภัฎอุบลราชธานี
2545 ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต (พัฒนาสังคม) สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ (NIDA)
2563 บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต (MBA.) มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช
2555 ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาพัฒนบูรณาการศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี
งานบริหาร
ตำแหน่ง
2547-2548 ผู้ช่วยหัวหน้าสำนักงานไร่ฝึกทดลองและห้องปฏิบัติการกลาง คณะเกษตรศาสตร์
2556 - 2558 ตำแหน่งรองประธานสภาอาจารย์มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี
2556 - 2560 ตำแหน่งประธานสหกรณ์ออมทรัพย์มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี จำกัด
2559 - 2559 ประธานกรรมการบริหารหลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาพัฒนบูรณาการศาสตร์ คณะบริหารศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี
2558 - 2559 รองคณบดีฝ่ายกิจการนักศึกษาและกิจการพิเศษ คณะบริหารศาสตร์
2559 – 2562 รองคณบดีฝ่ายวิชาการและพัฒนานักศึกษา คณะบริหารศาสตร์
2561 – 2565 หัวหน้าเจ้าหน้าที่พัสดุ คณะบริหารศาสตร์
2562 – 2565 ประธานสหกรณ์ออมทรัพย์มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี จำกัด
2562 – 2563 ประธานหลักสูตรบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต คณะบริหารศาสตร์
2563 - 2565 รองคณบดีฝ่ายวิจัย และบริการวิชาการ คณะบริหารศาสตร์
2566 - ปัจจุบัน คณบดีคณะบริหารศาสตร์
งานสอน / ภาระงาน
ผู้รับผิดชอบรายวิชา
วิชา (1701 313) การจัดการธุรกิจเกษตร
วิชา (1708 200) เศรษฐกิจพอเพียง
วิชา (1706 861) การประยุกต์เศรษฐกิจพอเพียงเพื่อการบริหารธุรกิจ
วิชา (1707873) ธุรกิจการเกษตรและสินค้าชุมชน (Agribusiness and Local Products)
รายละเอียด..
ความเชี่ยวชาญ
ความสามารถพิเศษ / ความเชี่ยวชาญ
การจัดการธุรกิจเกษตร
ด้านเศรษฐกิจพอเพียง
ด้านการบริหารจัดการฟาร์ม
การจัดการทรัพยากรมนุษย์
การจัดการธุรกิจเห็ดครบวงจร
งานวิจัยอื่นๆ
หัวหน้าโครงการ
1. หัวหน้าโครงการวิจัย เรื่องการลดต้นทุนการผลิตเห็ดโดยนำวัสดุที่เหลือใช้ทางการเกษตร ทดแทนการใช้ขี้เลื่อยไม้ยางพารา (งบประมาณ : สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ ปี 2542)
2. หัวหน้าโครงการวิจัย เรื่องการศึกษาสูตรอาหาร และวิธีการให้น้ำในโรงเรือนเปิดดอกที่เหมาะสมต่อการผลิตเห็ดขอนขาวในจังหวัดอุบลราชธานี (งบประมาณ : สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ ปี 2543)
3. หัวหน้าโครงการวิจัย เรื่องการศึกษาการนำวัสดุเหลือใช้ทางการเกษตรในท้องถิ่นมาใช้เพื่อพัฒนาการเพาะเห็ดฟางในโรงเรือน (งบประมาณ : สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ ปี 2544)
4. หัวหน้าโครงการวิจัยย่อย เรื่องการสร้างเครือข่ายเพื่อสนับสนุนการพัฒนาหลักสูตรเศรษฐกิจพอเพียง (งบประมาณ : สำนักงานบริหารและพัฒนาองค์ความรู้ (องค์การมหาชน) ปี 2550)
5. หัวหน้าโครงการวิจัย เรื่องการสร้างความรู้จากรูปแบบของเกษตรประณีต : กรณีศึกษาชุมชนฝึกฝนเศรษฐกิจพอเพียงมหาวิทยาลัยอุบลราชธานี (งบประมาณ : สำนักงานบริหารและพัฒนาองค์ความรู้ (องค์การมหาชน) ปี 2550)
6. หัวหน้าโครงการวิจัย เรื่องการจัดการความรู้เห็ดพื้นบ้านจังหวัดอุบลราชธานี (งบประมาณ : สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ ปี 2551)
7. หัวหน้าโครงการวิจัย เรื่องการเข้าสู่ตำแหน่งทางวิชาการของอาจารย์คณะบริหารศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี (งบประมาณ : คณะบริหารศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี ปี 2552)
8.หัวหน้าโครงการวิจัย เรื่องการจัดการความรู้ชุมชนเพื่อพัฒนาเครือข่ายการเรียนรู้ภูมิปัญญาท้องถิ่นตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง ระยะที่ 1 (งบประมาณ : สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ ปี 2553)
9. หัวหน้าโครงการเรื่อง การปรับตัวของเกษตรกรที่อาศัยอยู่ในพื้นที่น้ำท่วมซ้ำซาก กรณีศึกษา: บ้านท่างอย ตำบลบุ่งหวาย อำเภอวารินชำราบ จังหวัดอุบลราชธานี (งบประมาณ : สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย ปี 2556)
10. หัวหน้าโครงการเรื่อง เรื่อง แผนการตั้งรับและปรับตัวต่อการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศในด้านการเกษตรของตำบลท่าช้างอำเภอสว่างวีระวงศ์ จังหวัดอุบลราชธานี (งบประมาณ : สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย ปี 2557)
11. หัวหน้าโครงการวิจัย เรื่อง การบริหารจัดการโครงข่ายน้ำเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพทางการเกษตรอย่างมีส่วนร่วมของชุมชนบ้านท่างอย ตำบลบุ่งหวาย อำเภอวารินชำราบ จังหวัดอุบลราชธานี (งบประมาณ : สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย, อบจ.อุบลราชธานี, มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี ปี 2559
12. หัวหน้าโครงการวิจัย เรื่อง การบริหารจัดการกลุ่มและเครือข่าย กรณีศึกษา วิสาหกิจชุมชนร่องมาลี จังหวัดอุบลราชธานี (งบประมาณ : สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย ปี 2560)
13. หัวหน้าโครงการวิจัยย่อย เรื่องการพัฒนาและถ่ายทอดเทคโนโลยี ในชุดโครงการวิจัย “การพัฒนาแมลงเป็นสัตว์เศรษฐกิจ และการพัฒนาโปรตีนทางเลือกจากแมลงเพื่อขับเคลื่อนภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนล่าง 2 เป็นศูนย์กลางเศรษฐกิจฐานชีวภาพ (Bio Economy)”
ผู้ร่วมวิจัย
1.ผู้ร่วมโครงการวิจัย เรื่องการผลิตพืชอาหารสัตว์สำหรับโคนมเขตร้อน (งบประมาณ : สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย ปี 2538-2539)
2. ผู้ร่วมวิจัย โครงการวิจัยเรื่อง การพัฒนาสายพันธุ์เห็ด Lentinus polychrous Lev. สำหรับอุตสาหกรรม (งบประมาณ : สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย ปี 2541-2543 )
3. ผู้ร่วมโครงการวิจัย เรื่องอิทธิพลของตำแหน่งข้อและระยะเวลาการเก็บรักษาก้านดอก ที่มีผลต่อการปักชำใบกุหลาบที่มีตาติดจากก้านดอก (งบประมาณ : คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี ปี 2542)
4.ผู้ร่วมโครงการวิจัย เรื่องการคัดเลือกสายพันธุ์มะเขือเทศสำหรับอุตสาหกรรม ที่ต้านทานโรคเหี่ยวเขียว (งบประมาณ : สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ ปี 2543)
5. ผู้ร่วมโครงการวิจัย เรื่องการสำรวจและเก็บรวบรวมพันธุ์กล้วยไม้แดงอุบล ปีงบประมาณ (งบประมาณ : คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี ปี 2543)
6. ผู้ร่วมโครงการวิจัย เรื่องการศึกษาวัสดุปลูกและปุ๋ยที่เหมาะสมในการเจริญเติบโตของกล้วยไม้แดงอุบล (งบประมาณ : คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี ปี 2548)
7. ผู้ร่วมโครงการวิจัย สภาพการผลิตไม้ดอกในจังหวัดอุบลราชธานี (งบประมาณ : คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี ปี 2548)
8. ผู้ร่วมโครงการวิจัย เรื่องการศึกษาสภาพการตลาดพริกจังหวัดอุบลราชธานีและจังหวัดศรีสะเกษ (งบประมาณ : สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย ปี 2549)
9. ผู้ร่วมโครงการวิจัยเรื่อง ความเป็นไปได้ของการผลิตข้าวหอมมะลิในระบบเกษตรอินทรีย์ที่จะเป็นอาชีพทางเลือกที่มีศักยภาพในการแก้ปัญหาความยากจนสำหรับเกษตรกรภาคะวันออกเฉียงเหนือตอนล่าง : กรณีศึกษาจังหวัดยโสธร (งบประมาณ : สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย ปี 2549)
10. ผู้ร่วมโครงการวิจัยเรื่อง การพัฒนาอาชีพของเกษตรกรในพื้นที่สำนักงานปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม (สปก.) ตามโครงการแปลงสินทรัพย์เป็นทุน (งบประมาณ : สำนักงานปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม ปี 2549)
11. ผู้ร่วมโครงการวิจัยเรื่อง รูปแบบการบริหารจัดการหนี้สินของชุมชนบ้านโนนเค็ง ตำบลคำขวาง อำเภอวารินชำราบ จังหวัดอุบลราชธานี (งบประมาณ : สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย ปี 2554)
12. ผู้ร่วมโครงการวิจัยเรื่อง การศึกษารูปแบบการปรับตัวของเกษตรกรนาน้ำฝน ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ต่อการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ (งบประมาณ : สำนักงานพัฒนาการวิจัยการเกษตร (องค์การมหาชน) ปี 2555)
13. ผู้ร่วมโครงการวิจัย เรื่องเพาะพันธุ์ปัญญาของโรงเรียนเครือข่ายมหาวิทยาลัยอุบลราชธานี (งบประมาณ : สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย ปี 2557-ปัจจุบัน)
14. ผู้ร่วมโครงการวิจัย โครงการปลูกป่าปลูกเห็ดในจังหวัดอุบลราชธานี (งบประมาณ : The Mushroom Initiatives องค์กรเอกชนที่ส่งเสริมการอนุรักษ์ธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมจาก ประเทศฮ่องกง ปี 2561-2563)
15. ผู้ร่วมโครงการวิจัยเรื่อง การส่งเสริมการทำเกษตรอินทรีย์ เพื่อสุขภาพดี จังหวัดอุบลราชธานี : กรณีศึกษา ตำบลยางสักกระโพหลุ่ม อำเภอม่วงสามสิบ จังหวัดอุบลราชธานี (งบประมาณ : สำนักงาน กองทุนสนับสนุนการวิจัย ปี 2562)
ผลงานทางวิชาการอื่นๆ
บทความ/ผลงานวิจัยในวารสารวิชาการภายในประเทศ
อุทัย อันพิมพ์, สุขวิทย์ โสภาพล, รินทร์ลภัส ชัยหิรัญกิตติ์ และชริดา ปุกหุต.(2560). การจัดการความรู้ภูมิปัญญาเห็ด พื้นบ้านของชุมชนในจังหวัดอุบลราชธานี. วารสารมนุษย์ศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี, 8(2), กรกฎาคม-ธันวาคม 2560
เพชรบุญ ฟักเกต, ชมพูนุท โมราชาติ และอุทัย อันพิมพ์.(2559). สภาพการสร้างความมั่นคงทางอาหารของเกษตรกร อินทรีย์ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนล่าง. วารสารพิชญทรรศน์ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี, 11(1), มกราคม-มิถุนายน 2559.73-80.
เพชรบุญ ฟักเกต, ชมพูนุท โมราชาติ และอุทัย อันพิมพ์. (2559) การสร้างความมั่นคงทางอาหารของเกษตรกรอินทรีย์ ใน ภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนล่าง. วารสารมหาวิทยาลัยนครพนม สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์, 6(2), พฤษภาคม-สิงหาคม 2559, 96-104.
อรทัย เลียงจินดาถาวร, กิ่งกาญจน์ สำนวนเย็น, อุทัย อันพิมพ์, รุ่งรัศมี บุญดาว, ปัญจีรา ศุภดล และนาวินี สุตัญตั้งใจ. (2559). รูปแบบการบริหารจัดการงานวิจัยเพื่อการหนุนเสริมงานวิจัยเพื่อท้องถิ่นของมหาวิทยาลัยอุบลราชธานี. วารสารวิจัยเพื่อการพัฒนาเชิงพื้นที่, 8(4), ตุลาคม-ธันวาคม 2559, 15-34.
สุภาวดี ขุนทองจันทร์, อุทัย อันพิมพ์ และสุขวิทย์ โสภาพล.(2557). ความคิดเห็นต่อการจัดการศึกษาในหลักสูตรเน้นการ วิจัย คณะบริหารศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี. วารสารการศึกษาและพัฒนาสังคม,10(1), 288-296.
อุทัย อันพิมพ์ และสุขวิทย์ โสภาพล.(2557).คณะบริหารศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานีกับการวิจัยเพื่อรับใช้สังคมท้องถิ่น. วารสารบริหารศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี,3(6), กรกฎาคม-ธันวาคม 2557, 36-53.
สุพัฒน์ เงาะปก สัจจา บรรจงศิริ และอุทัย อันพิมพ์.(2557).การจัดการการผลิตและการตลาดเห็ดขอนขาวของเกษตรกรราย ย่อยในจังหวัดอุบลราชธานี. วารสารการเกษตรราชภัฏ, 12(1), มกราคม-มิถุนายน 2557,25-35.
ชริดา ปุกหุต และอุทัย อันพิมพ์. (2557). เห็ดป่าที่พบในจังหวัดอุบลราชธานี ระหว่าง พ.ศ. 2553-2557. วารสารเห็ดไทย, กรกฎาคม-ธันวาคม 2557, 1-11.
อุทัย อันพิมพ์ บุญส่ง เอกพงษ์ และสมชาย พละสาร. ๒๕๔๔.การนำวัสดุเหลือใช้ทางการเกษตรมาทดแทนการใช้ขี้เลื่อยไม้ยางพาราในการผลิตเห็ด.การนำเสนอผลงานวิชาการในรายงานการสัมมนาและเสวนาวิชาการงานแสดงเทคโนโลยีการเกษตรเพื่ออินโดจีน ๒๕-๓๑ พฤษภาคม ๒๕๔๔. คณะเกษตรศาสตร์มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี. หน้า ๔๐๑-๔๐๙.
บุญส่ง เอกพงษ์ พิทักษ์ สิงห์ทองลา รักเกียรติ แสนประเสริฐ และอุทัย อันพิมพ์. ๒๕๔๔.อิทธิพลของปุ๋ยน้ำฟอสฟอรัสที่มีผลต่อผลผลิตมะเขือเทศในระบบน้ำหยด.การนำเสนอผลงานวิชาการในรายงานการสัมมนาและเสวนาวิชาการงานแสดงเทคโนโลยีการเกษตรเพื่ออินโดจีน ๒๕-๓๑ พฤษภาคม ๒๕๔๔. คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี. หน้า ๔๕๗-๔๖๒
ศรีประไพ ธรรมแสง กาญจนา รุ่งรัชกานนท์ ภาคภูมิ สืบนุการณ์ วรงค์ นัยวินิจ ธีรวุฒิ มาประชา และอุทัย อันพิมพ์. ๒๕๔๔. การสำรวจและเก็บรวบรวมพันธุ์กล้วยไม้แดงอุบล. การนำเสนอผลงานวิชาการในรายงานการสัมมนาและเสวนาวิชาการงานแสดงเทคโนโลยีการเกษตรเพื่ออินโดจีน ๒๕-๓๑ พฤษภาคม ๒๕๔๔. คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี. หน้า ๔๒๐–๔๓๓
อุทัย อันพิมพ์ บุญส่ง เอกพงษ์ สมชาย พละสาร และรักเกียรติ แสนประเสริฐ. ๒๕๔๗.การศึกษาสูตรอาหาร และวิธีการให้น้ำในโรงเรือนเปิดดอกที่เหมาะสมต่อการผลิตเห็ดขอนขาวในจังหวัดอุบลราชธานี. การประชุมวิชาการเฉลิมพระเกียรติ สมเด็จ พระนางเจ้า สิริกิติ์พระบรมราชินีนาถ เนื่องในวโรกาสพระราชพิธีมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา ๖ รอบ เกษตรอินทรีย์: กระแสโลกและกระแสสังคม. ๔-๗ พฤศจิกายน ๒๕๔๗. คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี. หน้า ๔๓-๕๓.
ชริดา ปุกหุต อุทัย อันพิมพ์ โสภณ บุญลือ และประเสริฐ วุฒิคัมภีร์ .๒๕๔๗. เห็ดอินทรีย์.การประชุมวิชาการเฉลิมพระเกียรติ สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์พระบรมราชินีนาถ เนื่องในวโรกาสพระราชพิธีมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา ๗ รอบ เกษตรอินทรีย์: กระแสโลก และกระแสสังคม. ๔-๗ พฤศจิกายน ๒๕๔๗ คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี. หน้า ๑-๑๙.
อุทัย อันพิมพ์ บุญส่ง เอกพงษ์ สมชาย พละสาร และรักเกียรติ แสนประเสริฐ. ๒๕๔๗ การศึกษาสูตรอาหาร และวิธีการให้น้ำในโรงเรือนเปิดดอกที่เหมาะสมต่อการผลิตเห็ดขอนขาวในจังหวัดอุบลราชธานี. วารสารเห็ดไทย ๒๕๔๗. สมาคมนักวิจัยและเพาะเห็ดแห่งประเทศไทย.หน้า ๗๗- ๘๘.
ชริดา ปุกหุต อุทัย อันพิมพ์ โสภณ บุญลือ ประเสริฐ วุฒิคัมภีร์ และอัจฉรา พยัพพานนท์. ๒๕๔๙. สายพันธุ์เห็ดขอนขาว Lentinus squarrosulus Mont. ที่อุบลราชธานี วารสารเห็ดไทย ๒๕๔๘ สมาคมนักวิจัยและเพาะเห็ดแห่งประเทศไทย กรุงเทพ หน้า ๑- ๑๒
ศรีประไพ ธรรมแสง ภาคภูมิ สืบนุการณ์ วรงค์ นัยวินิจ และอุทัย อันพิมพ์. ๒๕๔๙. การศึกษาวัสดุปลูกและปุ๋ยที่เหมาะสมในการเจริญเติบโตของกล้วยไม้แดงอุบล. วารสารวิชาการ ม.อบ. ปีที่ ๘ ฉบับที่ ๓ หน้า ๒๖ -๓๖
บุญส่ง เอกพงษ์ อุทัย อันพิมพ์ นพมาศ นามแดง และอภิญญา เอกพงษ์. ๒๕๔๙. ศักยภาพการตลาดพริกขี้หนูเมล็ดใหญ่สดในจังหวัดอุบลราชธานี และศรีสะเกษ. การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ ๖. ๗-๑๐ พฤศจิกายน ๒๕๔๙ ณ โรงแรมโลตัสปางสวน แก้ว จังหวัดเชียงใหม่. สนับสนุนการวิจัยโดย สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.)
ชริดา ปุกหุต อุทัย อันพิมพ์ โสภณ บุญลือ ประเสริฐ วุฒิคัมภีร์ และอัจฉรา พยัพพานนท์. ๒๕๕๐. การทดสอบผลผลิตเห็ดขอนขาวที่อุบลราชธานี วารสารเห็ดไทย ๒๕๕๐ สมาคมนักวิจัยและเพาะเห็ดแห่งประเทศไทย กรุงเทพ หน้า ๙๓- ๙๘
บุญส่ง เอกพงษ์ อภิญญา เอกพงษ์ และอุทัย อันพิมพ์. ๒๕๕๐. การทดสอบมะเขือเทศพันธุ์รับประทานผลสดในช่วงฤดูฝนของจังหวัดอุบลราชธานี. วารสารวิชาการ ม.อบ. ปีที่ ๙ ฉบับที่ ๑ หน้า ๑๒-๒๔.
นพมาศ นามแดง บุญส่ง เอกพงษ์ อุทัย อันพิมพ์ และอภิญญา เอกพงษ์. ๒๕๕๐. ศักยภาพการตลาดพริกแห้งในจังหวัดอุบลราชธานี และศรีสะเกษ. การประชุมวิชาการ ครั้งที่ ๔๕ ๓๐ มกราคม – ๑๐ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๐ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.
อุทัย อันพิมพ์ และสุธิดา แจ่มใส ไวท. ๒๕๕๑. การสร้างเครือข่ายเพื่อสนับสนุนการพัฒนาหลักสูตรเศรษฐกิจพอเพียง. การประชุมทางวิชาการ ม.อบ.วิจัยครั้งที่ ๒ ๒๘-๒๙ กรกฎาคม ๑๕๕๑ ณ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี. สนับสนุนโดยสำนักงานบริหารและพัฒนาองค์ความรู้ (สบร.) หน้า ๑๔๓-๑๕๓.
อุทัย อันพิมพ์ และสุธิดา แจ่มใส ไวท. ๒๕๕๑. การสร้างความรู้จากรูปแบบของเกษตรประณีต: กรณีศึกษาชุมชนฝึกฝนเศรษฐกิจพอเพียงมหาวิทยาลัยอุบลราชธานี. การประชุมทางวิชาการ ม.อบ.วิจัยครั้งที่ ๒ ๒๘-๒๙ กรกฎาคม ๒๕๕๑ ณ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี. สนับสนุนโดยคณะบริหารศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี. หน้า ๑๑๕-๑๒๖
อุทัย อันพิมพ์ และบุญส่ง เอกพงษ์ ๒๕๕๑. การนำวัสดุเหลือทิ้งทางการเกษตรในท้องถิ่นมาใช้เพื่อพัฒนาการเพาะเห็ดฟางในโรงเรือน. วารสารวิชาการ ม.อบ. ปีที่ ๑๐ ฉบับที่ ๓ หน้า ๙ –๒๐.
ศรีประไพ ธรรมแสง และ อุทัย อันพิมพ์. ๒๕๕๒. สภาพการผลิตไม้ดอกในจังหวัดอุบลราชธานี. การประชุมทางวิชาการ ม.อบ.วิจัยครั้งที่ ๓ ๒๘-๒๙ กรกฎาคม ๒๕๕๒ ณ โรงแรมสุนีย์ แกรนด์ แอนด์ คอนเวนชั่น เซ็นเตอร์ จัดโดยมหาวิทยาลัยอุบลราชธานี. หน้า ๑๑๕-๑๒๖
อุทัย อันพิมพ์. ๒๕๕๒. การอนุรักษ์ และจัดการความรู้เห็ดพื้นบ้านอุบลราชธานี. การประชุมวิชาการระดับชาติ “ศาสตร์ด้านการบริหารและการจัดการทรัพยากร” ๒๐-๒๑ สิงหาคม๒๕๕๒ จัดโดยคณะบริหารศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี ณ โรงแรมลายทอง อำเภอเมือง จังหวัดอุบลราชธานี. หน้า ๒๗๖-๒๘๕. (สนับสนุนงบประมาณโดยสำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ)
ชวนพิศ อันพิมพ์ อุทัย อันพิมพ์ กิตติยา สร้อยเพชร และปณิตา วจีกมล. ๒๕๕๓. การเข้าสู่ตำแหน่ง ทางวิชาการของอาจารย์คณะบริหารศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี. การประชุม วิชาการบัณฑิตศึกษาระดับชาติ “บูรณาการศาสตร์เพื่อการพัฒนาในยุคการเปลี่ยนแปลง” วันที่ ๑๗ กันยายน ๒๕๕๓. จัดโดยคณะบริหารศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี ณ อาคารสำนักงานอธิการบดีมหาวิทยาลัยอุบลราชธานี อำเภอวารินชำราบ จังหวัดอุบลราชธานี. หน้า ๑-๑๔.
ชริดา ปุกหุต และอุทัย อันพิมพ์. ๒๕๕๓. คนในลุ่มน้ำโขงกับเห็ด. การประชุมวิชาการระดับชาติทางวัฒนธรรม อุบลวัฒฯธรรมครั้งที่ ๑ ฅน ค้า ข้าว” วันที่ ๒๓-๒๕ ธันวาคม ๒๕๕๓. ณ อาคารสำนักงานอธิการบดีมหาวิทยาลัยอุบลราชธานี อำเภอวารินชำราบ จังหวัดอุบลราชธานี. หน้า ๑๔๑.
อุทัย อันพิมพ์ นรินทร บุญพราหมณ์ และสุขวิทย์ โสภาพล. ๒๕๕๔. การสร้างความรู้จากรูปแบบเกษตรประณีตเพื่อพัฒนาอาชีพสู่ความยั่งยืน: กรณีศึกษาสมาชิกเครือข่ายปราชญ์ชาวบ้าน จังหวัดบุรีรัมย์. วารสารสมาคมนักวิจัย. ปีที่ ๑๖ ฉบับที่ ๓ (ก.ย.-ธ.ค.) ๒๕๕๔. หน้า ๑๕-๒๕
อุทัย อันพิมพ์ และนรินทร บุญพราหมณ์. ๒๕๕๕. การจัดการความรู้เกษตรประณีตของสมาชิกเครือข่ายปราชญ์ชาวบ้าน. วารสารศรีนครินทรวิโรฒวิจัยและพัฒนา. ปี่ที่ ๔ ฉบับที่ ๗ (ม.ค.-มิ.ย.) ๒๕๕๕. หน้า ๑๗๔-๑๙๑
อุทัย อันพิมพ์ และนรินทร บุญพราหมณ์. ๒๕๕๕. เครือข่ายปราชญ์ชาวบ้านกับการจัดการความรู้เกษตรประณีต. วารสารการเกษตรราชภัฏ. ปีที่ ๑๑ ฉบับที่ ๑ (ม.ค.-มิ.ย.) ๒๕๕๕. หน้า ๑๕-๒๕
รุ่งรัศมี บุญดาว อุทัย อันพิมพ์ รัชนี แสงศิริ ณรงค์ศักดิ์ ธงอาสา และเหมวรรณ เหมะนัค.๒๕๕๕. รูปแบบการบริหารจัดการหนี้สินของชุมชนบ้านโนนเค็ง ตำบลคำขวาง อำเภอวารินชำราบ จังหวัดอุบลราชธานี. การประชุมวิชาการ มอบ.วิจัย ครั้งที่ ๖ วันที่ ๒๕-๒๗ กรกฏาคม ๒๕๕๕. ณ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี. หน้า ๒๙.
อุทัย อันพิมพ์ รุ่งรัศมี บุญดาว รินทร์ลภัส ชัยหิรัญกิตติ์ ปวีณา คำพุกกะ และวันชัย ทิพย์ชัย. ๒๕๕๖. การปรับตัวของเกษตรกรที่อาศัยอยู่ในพื้นที่น้ำท่วมซ้ำซาก กรณีศึกษาบ้านท่างอย อำเภอวารินชำราบ จังหวัดอุบลราชธานี. การประชุมวิชาการ มอบ.วิจัย ครั้งที่ ๗ วันที่ ๒๕- ๒๖ กรกฏาคม ๒๕๕๖. ณ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี.
ชริดา ปุกหุต และอุทัย อันพิมพ์. ๒๕๕๗. เห็ดป่าที่พบในจังหวัดอุบลราชธานี ระหว่าง พ.ศ. ๒๕๕๓-๒๕๕๗. วารสารเห็ดไทย ก.ค.-ธ.ค. ๒๕๕๗. หน้า ๑-๑๑
สุพัฒน์ เงาะปก สัจจา บรรจงศิริ และอุทัย อันพิมพ์. ๒๕๕๗. การจัดการการผลิตและการตลาดเห็ดขอนขาวของเกษตรกรรายย่อยในจังหวัดอุบลราชธานี. วารสารการเกษตรราชภัฏ. ปีที่ ๑๒ ฉบับที่ ๑ (ม.ค.-มิ.ย.) ๒๕๕๗. หน้า ๒๕-๓๕
อุทัย อันพิมพ์ และสุขวิทย์ โสภาพล, ๒๕๕๗. คณะบริหารศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี กับการวิจัยเพื่อรับใช้สังคมท้องถิ่น. วารสารบริหารศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี.ปีที่ ๓ ฉบับที่ ๖ (ก.ค.-ธ.ค.) ๒๕๕๗.หน้า ๓๖-๕๓
สุขวิทย์ โสภาพล และอุทัย อันพิมพ์. ๒๕๕๗. การจัดการเรียนรู้แบบเพาะพันธุ์ปัญญาต่อการเปลี่ยนแปลงของนักเรียน ที่สอดคล้องกับทักษะแห่งศตวรรษที่ ๒๑ : ภาพสะท้อนของครูผู้ร่วมโครงการ. ประชุมวิชาการ มอบ. วิจัย ครั้งที่ 8 มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี, ๑๗-๑๘ กรกฎาคม ๒๕๕๗.
อุทัย อันพิมพ์ ฐิตารัตน์ พันธุ์ชนะ เหมวรรณ เหมะนัค สุภกัญญา จันทรุกขา ปรีชา เหมะนัค เดชา เหมะนัค และสุเทพ ศิริมูล. ๒๕๕๘. แผนการตั้งรับและปรับตัวต่อการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศในด้านการเกษตรของตำบลท่าช้างอำเภอสว่างวีระวงศ์ จังหวัดอุบลราชธานี. การประชุมวิชาการ มอบ.วิจัย ครั้งที่ ๙ วันที่ ๒-๓ กรกฏาคม ๒๕๕๘. ณ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี. หน้า ๘-๑๑
เพชรบุญ ฟักเกต ชมพูนุท โมราชาติ และอุทัย อันพิมพ์. ๒๕๕๙. สภาพการสร้างความมั่นคงทางอาหารของเกษตรกรอินทรีย์ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนล่าง. วารสารพิชญทรรศน์ มหาวิทยาลัยราชภํฏอุบลราชธานี. ปีที่ ๑๑ ฉบับที่ ๑ (ม.ค.-มิ.ย.) ๒๕๕๙. หน้า ๗๓-๘๐
อรทัย เลียงจินดาถาวร กิ่งกาญจน์ สำนวนเย็น อุทัย อันพิมพ์ รุ่งรัศมี บุญดาว ปัญจีรา ศุภดล และนาวินี สุตัญตั้งใจ. ๒๕๕๙ รูปแบบการบริหารจัดการงานวิจัยเพื่อการหนุนเสริมงานวิจัยเพื่อท้องถิ่นของมหาวิทยาลัยอุบลราชธานี. วารสารวิจัยเพื่อการพัฒนาเชิงพื้นที่. ปีที่ ๘ ฉบับที่ ๔ (ต.ค.-ธ.ค.) ๒๕๕๙. หน้า ๑๕-๓๔.
สุพัฒน์ เงาะปก สัจจา บรรจงศิริ และอุทัย อันพิมพ์. ๒๕๖๑. รูปแบบและต้นทุนการผลิตเห็ดขอนขาวของเกษตรกรในจังหวัดอุบลราชธานี. วารสารบัณฑิตศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร. ปีที่ 15 ฉบับที่ 68 (ม.ค.– มี.ค.) ๒๕๖๑. หน้า ๑๐๑-๑๑๒.
บทความ/ผลงานวิจัยในวารสารวิชาการระดับนานาชาติ
Pukahuta, C Unphim, U Wuthikhamphee, P and A. Payapanon. 2008. Science Biology and cultivation of Lentinus squarrosulus Mont. in Thailand and cultivation of edible and medicinal fungi: Mushroom Science XVII. Proceedingsof the 17th Congress of the International Society forMushroom Science, Cape Town, South Africa, 20–24 May 2008. P 437-448.
Unphim, U Boonbrahm, N and S. Sopapol. 2011. Knowledge management in “Kaset Praneet”an Agriculture Model for Development concept acceptance for the Farmers in Thailand. International Journal of Humanities and Social Science. Vol. 1 No. 20 December 2011. United States of America. P.122-130.
การนำเสนอผลงานทางวิชาการภาคบรรยายระดับชาติ
อุทัย อันพิมพ์. ๒๕๕๒. การยอมรับแนวคิดเกษตรประณีตของเกษตรกรจังหวัดบุรีรัมย์. การประชุมวิชาการสังคมศาสตร์มนุษย์ศาสตร์ และศึกษาศาสตร์ “ครบรอบ ๔๐ ปี คณะสังคมศาสตร์และมนุษย์ศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล”. วันที่ ๑๘ ธันวาคม ๒๕๕๒ ณ โรงแรมรอยัลริเวอร์ กรุงเทพฯ.
อุทัย อันพิมพ์ สุขวิทย์ โสภาพล และบุญรัตน์ จงดี. ๒๕๕๖. การจัดการความรู้ของเกษตรกรนาน้ำฝนในภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนล่างต่อการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ. วารสารสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการข้าวและธัญพืชเมืองหนาว กลุ่มศูนย์วิจัยข้าวภาตะวันออกเฉียงเหนือ ประจำปี ๒๕๕๖ ๑๙-๒๐ มีนาคม ๒๕๕๖ ณ โรงแรมนาข่าบุรี รีสอร์ท จังหวัดอุดรธานี
งานบริการวิชาการ
กรรมการจัดงานฝึกอบรมและบริการวิชาการ
หัวหน้าโครงการบริการวิชาการ เรื่องการพัฒนาศักยภาพการจัดการฟาร์มเห็ดครบวงจร บ้านใหม่สารภี อำเภอสว่างวีระวงศ์ จังหวัดอุบลราชธานี ต่อเนื่อง ระยะที่ ๒ (งบประมาณ : มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี) ๒ ชั่วโมงต่อสัปดาห์
หัวหน้าโครงการบริการวิชาการเรื่อง การถ่ายทอดเทคโนโลยีการผลิตก๊าซชีวภาพจากมูลสัตว์เพื่อเป็นพลังงานทดแทนในครัวเรือนแบบยั่งยืน กลุ่มเป้าหมายคือเกษตรกรในจังหวัดอุบลราชธานี ดำเนินการติดตั้งบ่อปีละ ๑๖ บ่อ (งบประมาณ : กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี) ๓ ชั่วโมงต่อสัปดาห์
พ.ศ. ๒๕๕๗ หัวหน้าโครงการบริการวิชาการเรื่อง การบริหารจัดการฟาร์มเกษตรประณีตตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง กลุ่มเป้าหมาย คือ เกษตรตำบลโพธิ์ใหญ่ อำเภอวารินชำราบ จังหวัดอุบลราชธานี งบประมาณ : มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี) ๒ ชั่วโมงต่อสัปดาห์
พ.ศ. ๒๕๕๘ หัวหน้าโครงการบริการวิชาการเรื่อง การถ่ายทอดเทคโนโลยีการผลิตก๊าซชีวภาพจากมูลสัตว์เพื่อเป็นพลังงานทดแทนในครัวเรือนแบบยั่งยืน กลุ่มเป้าหมายคือเกษตรกรในจังหวัดอุบลราชธานี ดำเนินการติดตั้งบ่อปีละ ๑๖ บ่อ (งบประมาณ : กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี) ๓ ชั่วโมงต่อสัปดาห์
พ.ศ. ๒๕๕๘ หัวหน้าโครงการบริการวิชาการเรื่อง การบริหารจัดการฟาร์มเกษตรประณีตตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง กลุ่มเป้าหมาย คือ เกษตรบ้านใหม่สารภี อำเภอสว่างวีระวงศ์ จังหวัดอุบลราชธานี (งบประมาณ : มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี) ๒ ชั่วโมงต่อสัปดาห์
พ.ศ. ๒๕๕๙ หัวหน้าโครงการบริการวิชาการเรื่อง “เศรษฐกิจสร้างสรรค์: การแบ่งปันความรู้เศรษฐกิจพอเพียงสู่ชุมชน” กลุ่มเป้าหมาย คือ ประชาชนทั่วไป (งบประมาณ : มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี) ๒ ชั่วโมงต่อสัปดาห์
พ.ศ. ๒๕๕๙ หัวหน้าโครงการบริการวิชาการเรื่อง การถ่ายทอดเทคโนโลยีการผลิตก๊าซชีวภาพจากมูลสัตว์เพื่อเป็นพลังงานทดแทนในครัวเรือนแบบยั่งยืน กลุ่มเป้าหมายคือเกษตรกรในจังหวัดอุบลราชธานี ดำเนินการติดตั้งบ่อปีละ ๑๖ บ่อ (งบประมาณ : กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี) ๓ ชั่วโมงต่อสัปดาห์
พ.ศ. ๒๕๖๐ หัวหน้าโครงการบริการวิชาการเรื่อง การถ่ายทอดเทคโนโลยีการผลิตก๊าซชีวภาพจากมูลสัตว์เพื่อเป็นพลังงานทดแทนในครัวเรือนแบบยั่งยืน กลุ่มเป้าหมายคือเกษตรกรในจังหวัดอุบลราชธานี ดำเนินการติดตั้งบ่อปีละ ๑๖ บ่อ (งบประมาณ : กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี) ๓ ชั่วโมงต่อสัปดาห์
พ.ศ. ๒๕๖๐ หัวหน้าโครงการบริการวิชาการเรื่อง “การพัฒนาสินค้าชุมชนอย่างครบวงจรเพื่อยกระดับสินค้าคุณภาพเชิงพาณิชย์วิสาหกิจชุมชน ๔ องค์การบริหารส่วนตำบลรอบ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี” งบประมาณ : มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี) ๒ ชั่วโมงต่อสัปดาห์
การเป็นวิทยากรรับเชิญหรือบริการวิชาการรูปแบบต่าง ๆ
พ.ศ. ๒๕๕๘ วิทยากรโครงการฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง การส่งเสริมการเรียนรู้ตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง ให้กับเทศบาลเมืองเดช อำเภอเดชอุดม จังหวัดอุบลราชธานี (ส.ค. ๒๕๕๘) o.๕ ชั่วโมงต่อสัปดาห์
พ.ศ. ๒๕๕๘ วิทยากรโครงการฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง การส่งเสริมการเรียนรู้ตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง ให้กับสำนักงานเกษตรจังหวัดอุบลราชธานี (ก.พ. ๒๕๕๘) o.๕ ชั่วโมงต่อสัปดาห์
วิทยากรโครงการฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการ หลักสูตร “BAAC Smart Service” ให้กับพนักงาน ธกส. สาขาอำเภอเมือง จังหวัดอุบลราชธานี (ต.ค. ๒๕๕๘) ๑ ชั่วโมงต่อสัปดาห์
พ.ศ. ๒๕๖๐ วิทยากรโครงการฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการ หลักสูตร “การบริหารจัดการฟาร์มเกษตรประณีตตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง” ให้กับสมาชิกสหกรณ์การเกษตรในจังหวัดอุบลราชธานี (มิ.ย. ๒๕๖๐) ๑ ชั่วโมงต่อสัปดาห์
พ.ศ. ๒๕๖๐ วิทยากรโครงการฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการการฟื้นฟูและพัฒนาป่าพื้นบ้านแหล่ง อาหารชุมชนตามแนวพระราชดำริ จังหวัดอุบลราชธานี สำนักงานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมจังหวัดอุบลราชธานี (๒๒-๒๙ มิถุนายน ๒๕๖๐) ๖ ชั่วโมง
พ.ศ. ๒๕๖๐ วิทยากรโครงการฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการ หลักสูตร “การพัฒนาการดำเนินงานทีมตระหนักรู้สถานการณ์ (SAT) และศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุข (EOC)” ให้กับ สำนักงานควบคุมและป้องกันโรคที่ ๑๐ จังหวัดอุบลราชธานี (มิ.ย. ๒๕๖๐) ๑ ชั่วโมงต่อสัปดาห์
พ.ศ. ๒๕๖๑ วิทยากรบรรยาย เรื่อง “การเพิ่มศักยภาพกลุ่มเกษตรกรผู้ใช้น้ำขององค์การบริหารส่วนจังหวัดอุบลราชธานี และการบริหารจัดการน้ำเพื่อการเกษตรแบบพอเพียง” ณ ห้องประชุมศูนย์การแสดงและจำหน่ายสินค้าหนึ่งตำบลหนึ่งผลิตภัณฑ์ จังหวัดอุบลราชธานี (๑๘ พ.ค. ๒๕๖๑) ๑ ชั่วโมงต่อสัปดาห์
พ.ศ. ๒๕๖๑ วิทยากรบรรยาย เรื่อง “การส่งเสริมอาชีพเกษตรกรเพื่อการปลูกพืชเศรษฐกิจจังหวัดอุบลราชธานี” ณ องค์การบริหารส่วนจังหวัดอุบลราชธานี จำนวน ๑๘ รุ่น (มิ.ย.-ก.ค. ๒๕๖๑) ๓ ชั่วโมงต่อสัปดาห์
กรรมการภายนอกมหาวิทยาลัยทุกระดับ
พ.ศ. ๒๕๕๕ ได้รับแต่งตั้งเป็นผู้ประเมินภายนอกบทความวิจัยระดับบัณฑิตศึกษาของมหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี เพื่อตีพิมพ์ในวารสารพิชญทรรศน์ ปีที่ ๗ ฉบับที่ ๓ เรื่องการประสานเครือข่ายในการบริหารจัดการขยะมูลฝอยองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ของอำเภอพนมสารคาม จังหวัดฉะเชิงเทรา
พ.ศ. ๒๕๕๖ ได้รับแต่งตั้งเป็นผู้ประเมินรายงานความก้าวหน้าการวิจัย ของสำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย เรื่อง: โครงการรูปแบบการทำเกษตรอินทรีย์เพื่อการขยายผลสู่ชุมชนพื้นที่ บ้านสิงห์ ตำบลสิงห์ อำเภอเมือง จังหวัดยโสธร รหัสโครงการ: RDG54E0040 โดยนายประจักษ์ บุญทศ เป็นหัวหน้าโครงการ
พ.ศ. ๒๕๕๖ ได้รับแต่งตั้งให้เป็น คณะกรรมการสรรหาและเลือกสรรพนักงานจ้าง เทศบาลตำบลเมืองศรีไค อำเภอวารินชำราบ จังหวัดอุบลราชธานี
พ.ศ. ๒๕๖๐ ได้รับแต่งตั้งให้เป็นผู้ทรงคุณวุฒิพิจารณาบทความวิชาการวารสารเฉลิมกาญจนา มหาวิทยาลัยเฉลิมกาญจนา อำเภอเมือง จังหวัดศรีสะเกษ เรื่องการศึกษาระดับความผูกพันในงานของพนักงานธนาคารไทยพาณิชย์ จำกัด (มหาชน) สำนักงานเขตอุบลราชธานี (๒๗ กันยายน ๒๕๖๐)
พ.ศ. ๒๕๖๐ ได้รับแต่งตั้งเป็นผู้ทรงคุณวุฒิพิจารณาบทความวารสารวิชาการเฉลิมกาญจนา มหาวิทยาลัยเฉลิมกาญจนา จังหวัดศรีสะเกษ (๒๕๖๐-ปัจจุบัน)
กรรมการประจำระดับคณะ
พ.ศ. ๒๕๕๕- ๒๕๕๗ ได้รับแต่งตั้งเป็น กองบรรณาธิการวารสารบริหารศาสตร์ คณะบริหารศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี
พ.ศ. ๒๕๕๖-๒๕๕๘ ได้รับแต่งตั้งเป็น คณะกรรมการวิจัย คณะบริหารศาสตร์มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี
พ.ศ. ๒๕๕๖ ได้รับแต่งตั้งเป็นผู้พิจารณากลั่นกรองผลงานวิจัยก่อนลงตีพิมพ์ในวารสารบริหารศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี เรื่อง การพัฒนาการเรียนรู้ของนักศึกษามหาวิทยาลัยภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ในรายวิชาการบัญชีชั้นสูง ๒ โดยใช้เทคนิคการสอนแบบซิปปา
กรรมการประจำระดับสาขา/หลักสูตร
พ.ศ. ๒๕๕๖ ได้รับแต่งตั้งให้เป็นที่ปรึกษาการค้นคว้าอิสระ เรื่องปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการเลือกใช้บริการธุรกิจนำที่ยวต่างประเทศของนักท่องเที่ยวชาวไทยในจังหวัดอุบลราชธานีของนางสาวอธิประภา บุญอุ้ม นักศึกษาบัณฑิตศึกษา คณะบริหารศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี
พ.ศ. ๒๕๕๙ ได้รับแต่งตั้งให้เป็น ประธานหลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาพัฒนบูรณาการศาสตร์ คณะบริหารศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี ตั้งแต่ ๑ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๙
พ.ศ. ๒๕๖๓ ได้รับแต่งตั้งให้เป็นคณะกรรมการประจำคณะ คณะบริหารศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี
กรรมการเฉพาะกิจต่างๆ ที่แต่งตั้งโดยคณะหรือมหาวิทยาลัยเพื่อเป็นการปฏิบัติหน้าที่ชั่วคราวหรือเฉพาะงาน
พ.ศ. ๒๕๕๖ ได้รับแต่งตั้งเป็นผู้พิจารณากลั่นกรองผลงานทางวิชาการเรื่อง การศึกษาแนวคิดบุญนิยมของชุมชนราชธานีอโศก จังหวัดอุบลราชธานี ในมิติเศรษฐกิจ สังคม และการเมืองก่อนลงตีพิมพ์ในวารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี
พ.ศ. ๒๕๕๙ ได้รับแต่งตั้งให้เป็น ผู้พิจารณาผลงานทางวิชาการก่อนลงตีพิมพ์เผยแพร่ในวารสารมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี เรื่อง การบริหารจัดการแบบมีส่วนร่วมของวิสาหกิจชุมชน กลุ่มผลิตภัณฑ์แปรรูปอาหารจากปลาน้ำจืดในเขตอำเภอสร้างคอม จังหวัดอุดรธานี (๒๙ มิถุนายน ๒๕๕๙)
พ.ศ. ๒๕๖๐ ได้รับแต่งตั้งให้เป็นประธานกรรมการสอบเค้าโครงการค้นคว้าอิสระหลักสูตร บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต คณะบริหารศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี เรื่องการศึกษา ปัจจัยส่วนผสมการตลาด ปัจจัยภาพลักษณ์องค์กร ปัจจัยแรงจูงใจที่ส่งผลโอกาสการตัดสินใจศึกษาต่อในระดับอุดมศึกษาของนักศึกษาในจังหวัดอุบลราชธานี ของนางสาวสุภาพร กานัง (๒๒ มีนาคม ๒๕๖๐)
พ.ศ. ๒๕๖๐ ได้รับแต่งตั้งให้เป็นประธานกรรมการสอบการค้นคว้าอิสระ หลักสูตรบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต คณะบริหารศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี เรื่องกลยุทธ์ การตลาดและการบริหารลูกค้าสัมพันธ์ที่มีอิทธิพลต่อความพึงพอใจของลูกค้าที่ใช้ศูนย์บริการโทรศัพท์เคลื่อนที่ในจังหวัดอุบลราชธานี ของนางสาวณภัทร หอมพิกุล (๑๙ เมษายน ๒๕๖๐)
พ.ศ. ๒๕๖๐ ได้รับแต่งตั้งเป็นประธานกรรมการสอบเค้าโครงวิทยานิพนธ์ หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขายุทธศาสตร์การพัฒนาภูมิภาค มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี เรื่อง รูปแบบของการพัฒนาสมรรถนะหลักขององค์กรเพื่อความสามารถในการแข่งขันอย่างยั่งยืน ของนายวีระศักดิ์ ธนาพรสิน (๒๐ ธันวาคม ๒๕๖๐)
บำรุงศิลปวัฒนธรรม
หัวหน้าโครงการ
2566 การอนุรักษ์และการจัดการความรู้ดอนปู่ตา