Loading...
En
คณะของเรา
เกี่ยวกับเรา
ประวัติการก่อตั้ง
วิสัยทัศน์ พันธกิจ และค่านิยม
วิดีทัศน์แนะนำคณะ
แผนที่ตั้ง
บุคลากร
จำนวนนักศึกษา
การบริหาร
โครงสร้างการแบ่งส่วนราชการ
ผู้บริหาร
รายงานประจำปี
ประกาศ/มติที่ประชุมที่สำคัญ
ข่าวและกิจกรรม
ข่าวทั่วไป
ข่าวประกวดราคา
ข่าวทุนการศึกษา
ข่าวรับสมัครงาน
หน่วยงานภายใน
งานบริหารทั่วไป
งานบริการการศึกษา
งานคอมพิวเตอร์และเครือข่าย
งานบรรณารักษ์
งานโสตทัศนศึกษา
งานพัฒนานักศึกษา
งานประกันคุณภาพการศึกษาและสารสนเทศ
งานแผนและงบประมาณ
งานบริหารบุคคล
งานคลังและพัสดุ
งานส่งเสริมการวิจัย ฯ
การศึกษาและหลักสูตร
หลักสูตรปริญญาตรี
สาขาวิชาการบัญชี
สาขาวิชาการเงินและการลงทุน
สาขาวิชาการจัดการธุรกิจ
สาขาการตลาด
สาขาวิชานวัตกรรมการจัดการโรงแรมและการบริการ
สาขาวิชาการจัดการโลจิสติกส์และโซ่อุปทาน
สาขาวิชาการจัดการธุรกิจระหว่างประเทศ
(หลักสูตรภาษาอังกฤษ)
หลักสูตรปริญญาโท
หลักสูตร บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต(MBA)
หลักสูตร บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต
สาขาวิชาการจัดการโลจิสติกส์และโซ่อุปทาน
ฐานข้อมูลวิทยานิพนธ์ - ค้นคว้าอิสระ
การรับเข้า
สมัครเรียน
ปฏิทินการศึกษา
สิ่งสนับสนุนการเรียน
อาคารเรียน
ภูมิทัศน์
วิจัยและนวัตกรรม
วิจัย
ฐานข้อมูลงานวิจัย
ข่าวประชุมวิชาการ / สัมมนา
ข่าวทุนวิจัย
ข่าวอบรม
รวมแบบฟอร์มวิจัย
นวัตกรรม
การพัฒนางานเชิงคุณภาพ
การแลกเปลี่ยนเรียนรู้
KM Blog
บริการของเรา
นักศึกษา
ระบบบริการนักศึกษา
ปฏิทินการศึกษา
สวัสดิการนักศึกษา
ข่าวทุนการศึกษา
ผู้สนใจศึกษา
หลักสูตรปริญญาตรี
หลักสูตรปริญญาโท
ระบบรับเข้าและสมัครเรียน
ผู้ปกครอง
แผนที่เดินทาง
หลักสูตรปริญญาตรี
หลักสูตรปริญญาโท
สิ่งสนับสนุนการเรียน
สำหรับอาจารย์และบุคลากร
ผู้สนใจใช้สถานที่
โรงแรม U-Place
ติดต่อเรา
ติดต่อคณะฯ
โทรศัพท์ 045-353-804
โทรสาร 045-353-805
สายด่วนช่วยเหลือนักศึกษา
อุบัติเหตุ-ฉุกเฉิน : 085-3132491
งานพัฒนานักศึกษา : 045-353-845
สายด่วนคณบดี
หน้าห้อง : 0-4535-3846
หรือ อีเมล santi.c@ubu.ac.th
หน่วยงานภายใน
สอบถามการลงทะเบียนเรียน
สอบถามการรับเข้าศึกษา
สอบถามรายละเอียดหลักสูตร
สอบถามข้อมูลอื่นๆ
ข้อมูลบุคลากร
คณะบริหารศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี
รศ.ดร.พีชญาดา พื้นผา
กรรมการสภามหาวิทยาลัยอุบลราชธานี
ชื่อ - สกุล
รศ.ดร.พีชญาดา พื้นผา
Associate Professor Dr.Pichyada Pheunpha
กรรมการสภามหาวิทยาลัยอุบลราชธานี
อีเมล
pichyada.p@ubu.ac.th
ตำแหน่ง
รองศาสตรจารย์
สาขาวิชา / แผนก
การจัดการธุรกิจ
โทรศัพท์
0646394199, 0-4535-3831
โทรสาร
0-4535-3805
สถานที่ติดต่อ
ห้องพักอาจารย์ BUS 250
คุณวุฒิ
คุณวุฒิการศึกษา
จบการศึกษาระดับปริญญาตรีจากมหาวิทยาลัยขอนแก่น สาขาการสอนคณิตศาสตร์ เกียรตนิยมอันดับ 2 (GPA=3.33) โดยได้รับทุนโครงการคณิตศาสตร์ศึกษา เร่งรัดพัฒนาครูคณิตศาสตร์ (รพค.) กระทรวงศึกษาธิการ
จบการศึกษาระดับปริญญาโทจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย สาขาวิจัยทางการศึกษา (GPA=3.74) ปี พ.ศ. 2547
จบการศึกษาระดับปริญญาเอกจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย (GPA=3.92) สาขาวิธีวิทยาการการวิจัยทางการศึกษา ปี พ.ศ. 2555 โดยได้รับทุนจาก สกอ. ประเภททุนในและต่างประเทศ และได้รับประกาศณียบัตรทางด้านการเรียนจาก University of California, Los Angeles (UCLA), USA ในปี พ.ศ. 2554
ได้รับทุนจาก The British Council ประเภททุน The Researcher Links ไปทำวิจัยที่ประเทศอังกฤษที่ The University of Strathclyde (ระหว่างเดือน พ.ย.57- ก.พ. 58)
งานบริหาร
ตำแหน่ง
มิถุนายน 2558 - 2559 รองคณบดีฝ่ายวิชาการและวิเทศสัมพันธ์
ส.ค.2555 – พ.ย.2557 ผู้ช่วยคณบดีฝ่ายวิจัยและบริการวิชาการ
2562-2563 ประธานหลักสูตรสาขาการจัดการธุรกิจ
กุมภาพันธ์ 2567 - ปัจจุบัน กรรมการสภาอาจารย์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี
งานสอน / ภาระงาน
ผู้รับผิดชอบรายวิชา
สถิติธุรกิจ
สถิติและวิเคราะห์เชิงปริมาณ 1
คณิตศาสตร์ธุรกิจ
การวิจัยทางธุรกิจ
การวิจัยทางการเงิน
ระเบียบวิธีวิจัยทางธุรกิจ
ภาระงานตามมาตรฐานกำหนดตำแหน่ง
สถิติธุรกิจ
ระเบียบวิธีวิจัยและสถิติสำหรับบริหารธุรกิจ ระดับปริญญาโท
ความเชี่ยวชาญ
ความสามารถพิเศษ / ความเชี่ยวชาญ
ด้านระเบียบวิธีวิจัยและสถิติทางด้านบริหารศาสตร์ ด้่านสังคมศาสตร์ และด้านการศึกษา สถิติขั้นสูง การวิเคราะห์โมเดลโครงสร้าง การวิเคราะห์พหุระดับ การวิเคราะห์ Survival Analysis มีความเชี่ยวชาญด้านโปรแกรม SPSS, MPLUS, HLM, LISREL
งานวิจัยอื่นๆ
หัวหน้าโครงการ
การพัฒนาโมเดลเชิงสาเหตุปัจจัยที่ส่งผลต่อการตัดสินใจเลือกใช้บริการทางการเงินธนาคารพาณิชย์ไทยของผู้ประกอบการ SMEs ในจังหวัดอุบลราชธานี
ส่วนประสมทางการตลาดบริการและภาพลักษณ์องค์กรที่มีอิทธิพลต่อแรงจูงใจของลูกค้าในการบริโภคร้านอาหารชาบู ในจังหวัดอุบลราชธานี 2563-2564
ผลงานทางวิชาการอื่นๆ
ตำรา
สถิติธุรกิจ (2560). โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี
บทความ/ผลงานวิจัยในวารสารวิชาการภายในประเทศ
พีชญาดา พื้นผา. (2563). การวิเคราะห์องค์ประกอบปัจจัยคุณภาพการบริการในระดับอุดมศึกษาจากมุมมองของนักศึกษามหาวิทยาลัยอุบลราชธานี. วารสารศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม. ปีที่ 14 ฉบับที่ 3 เมษายน-มิถุนายน 2563.
พีชญาดา พื้นผา. (2563). ปัจจัยการออกกลางคันของนักศึกษาคณะบริหารธุรกิจ. วารสารศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม. ปีที่ 14 ฉบับที่ 2 เมษายน-มิถุนายน 2563.
ลำไพ พรมชัย และ พีชญาดา พื้นผา. (2562). ปัจจัยแรงจูงใจและบรรยากาศองค์การที่มีอิทธิพลต่อประสิทธิภาพการทำงานของบุคลากรการไฟฟ้าส่วนภูมิภาคในจังหวัดอุบลราชธานี. วารสารรังสิตบัณฑิตศึกษาในกลุ่มธุรกิจและสังคมศาสตร์. ปีที่ 5 ฉบับที่ 1. (มกราคม – มิถุนายน 2562).
สวลี วงศ์ไชยา และ พีชญาดา พื้นผา. (2561). อิทธิพลของกลยุทธ์ธุรกิจและคุณลักษณะของ ผู้ประกอบการที่ส่งผล ต่อความสำเร็จของธุรกิจขนาดกลางและขนาดย่อม. วารสารสมาคมนักวิจัยสาขามนุยศาสตร์และสังคมศาสตร์. ปีที่ 23 ฉบับที่ 2. หน้า 139-152.
พีชญาดา พื้นผา. (2560). การวิเคราะห์องค์ประกอบความพึงพอใจเกี่ยวกับคุณภาพการบริการใน ระดับอุดมศึกษา กรณีศึกษา คณะบริหารศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานีในภูมิภาคลุ่มน้ำโขง. วารสารครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. ปีที่ 45 ฉบับที่ 4 (ตุลาคม – ธันวาคม 2560).
ละออง มังตะการ และ ดร.พีชญาดา พื้นผา. (2561). การศึกษาปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับการ ตัดสินใจเลือกใช้บริการทางการเงินธนาคารไทยพาณิชย์ของผู้ประกอบการ (SMEs). วารสารบริหารศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี. ปีที่ 7 ฉบับที่ 13 (มกราคม – มิถุนายน 2561).
นันทนา ละม่อม และ ดร.พีชญาดา พื้นผา. (2561). การศึกษาประสิทธิภาพในการปฏิบัติงาน ปัจจัยภายในองค์กรที่ส่งผลต่อความสุขในการทำงานระหว่างพนักงานเทศบาลและพนักงานจ้างของเทศบาลตำบลในจังหวัดอุบลราชธานี. วารสารพัฒนบริหารศาสตร์ (NIDA Development Journal). ปีที่ 58 ฉบับที่ 4 ตุลาคม – ธันวาคม 2561.
วีระศักดิ์ คําล้าน, จตุภูมิ เขตจัตุรัส, เพ็ญภัคร พื้นผา. (2559). การพัฒนาระบบติดตามและประเมินประสิทธิผลโรงเรียน: การประยุกต์ใช้โมเดล มูลค่าเพิ่ม 4 ระดับ และการประเมินแบบทฤษฎีแรงขับ. วารสารบริหารการศึกษา มหาวิทยาลัยขอนแก่น. ปีที่ 12 ฉบับที่ 2: กรกฎาคม – ธันวาคม 2559.
เพ็ญภัคร พื้นผา. (2558). การวิเคราะห์ถดถอยโลจิสติกปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อโอกาสการสอบผ่าน หรือไม่ผ่านวิชาสถิติธุรกิจของนักศึกษา คณะบริหารศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี.วารสารพัฒนาการเรียนการสอน มหาวิทยาลัยรังสิต. ปีที่ 9 ฉบับที่ 1 มกราคม-มิถุนายน 2558.
เพ็ญภัคร พื้นผา. (2558). ข้อได้เปรียบของโมเดลเชิงเส้นระดับลดหลั่นของ Raudenbush & Bryk (2002) ฉบับปรับปรุงครั้งที่ 2 (Advantages of Hierarchical Linear Models (HLM) of Raudenbush & Byke (2002) Second Edition). วารสารวัดผลการศึกษา มหาวิทยาลัยมหาสารคาม. ปีที่ 21 ฉบับที่ 1 (กรกฏาคม 2558).
เพ็ญภัคร พื้นผา. (2556). ปัจจัยที่ส่งผลต่อทักษะภาษาอังกฤษของนักศึกษาสาขาธุรกิจชั้นปีที่ 4 คณะบริหารศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี. การนำเสนองานวิจัยระดับชาติระดับบัณฑิตศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฎอุบลราชธานีครั้งที่ 5. Online publication: http://re-ed.onecapps.org/ReEDFile/56-40009.pdf.
เพ็ญภัคร พื้นผา. (2555). การพัฒนาโมเดลมูลค่าเพิ่มพหุระดับเพื่อการวัดประสิทธิผลของ โรงเรียน. วารสารครุศาสตร์ คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.ปีที่ 40 ฉบับที่ 2. (พ.ย.-ธ.ค. 2555).
อนันต์ ไชยกุลวัฒนา ชลลดา ไชยกุลวัฒนา นวพร สายสิงห์ และ เพ็ญภัคร พื้นผา. (2557). การสำรวจการรับรู้เกี่ยวกับการสูบบุหรี่ผ่านทางบริการออนไลน์ครือข่ายชุมชนคนเลิกบุหรี่: ระยะที่ 2. ศรีนครินทร์เวชสาร. ฉบับที่ 29 (6).
Anun Chaikoolvatana, Penpak Pheunpha, et al. (2015). The evaluation of initiating tobacco cessation services in the military-based hospital, northeastern Thailand. วารสารศิริราช. Vol. 67, No. 4.
ทักษิน พิมพ์ภักดิ์ อนันต์ ไชยกุลวัฒนา และ เพ็ญภัคร พื้นผา. (2558). พฤติกรรมการเลิกสูบ บุหรี่ของผู้สูบบุหรี่: กรณีศึกษาคลินิกฟ้าใส มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี. ศรีนครินทร์เวชสาร. ฉบับที่ 30(3).
บทความ/ผลงานวิจัยในวารสารวิชาการระดับนานาชาติ
Sosu, M. E. and Pheunpha, P. (2019). Trajectory of University Dropout: Investigating the Cumulative Effect of Academic Vulnerability and Proximity to Family Support. Frontiers in Education, Vol. 4, Article 6.
Pheunpha, P. and Bowarnkittiwong, S. (2016). Value-added models for measuring improving university school effectiveness in THAILAND. Asian Forum Business Education (AFBE) JOURNAL. Volume 9(2), 89 - 103.
Phuenpha, P. (2021). The Influence Corporate Image and Marketing Mix on Customer Motive: An Empirical Study of M Restaurants. ABAC Journal, Assumption University, 41(4), October-December 2021.
การนำเสนอผลงานทางวิชาการภาคบรรยายระดับนานาชาติ
Pheunpha, P. (2020). Developing a causal model of factors influencing the decision to select loan services of Thai commercial banks of small and medium-sized entrepreneurs in Thailand. India, Ukraine, Brazil & Greater Mekong Subregion International Conference – 2020 (IUBGMS 2020). 20 - 22 November 2020, Online Conference. Https://www.faipublications.com/vol-3-ii-2020.
Pheunpha, P. (2019). A Conceptual Framework of the Internal Organization Factors, Organizational Culture Affecting Employees’ Happiness at the Workplace in Higher. Australian Academy of Business Leadership Conference. Sydney, Australia, 21-23 March 2019.
Pheunpha, P. (2017). A Factor Analysis of Factors Affecting Student Satisfaction of Service Quality of Faculty of Management Science in Higher Education Marketing, Thailand. Oral presentation paper at The International Institute of Social and Economic Sciences in June, 27th–30th, in Geneva, Switzerland.
Sosu M.E. and Pheunpha, P. (2016). Effects of pre- entry characteristics on the trajectory of dropout among university students: a discrete time survival analysis. The VII European Congress of Methodology held in July, 27th–29th, 2016 in Palma de Mallorca (Spain).
Pheunpha, P. (2013). A Multi-level Modeling Approach to Predict Teaching Quality, Student's Satisfaction, School Climate on Student Achievement. The 5th International Conference on Asia Education. Osaka, Japan on October, 23-27.
งานบริการวิชาการ
บำรุงศิลปวัฒนธรรม